ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ พรบรถยนต์คือ อะไร ต้องทำไหม ขาดต่อพ.ร.บ.จะเกิดอะไรขึ้่น

-A A +A
ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ พรบรถยนต์คือ อะไร ต้องทำไหม ขาดต่อพ.ร.บ.จะเกิดอะไรขึ้่น

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ พรบรถยนต์คือ อะไร ต้องทำไหม ขาดต่อพ.ร.บ.จะเกิดอะไรขึ้่น

พรบของรถยนต์คืออะไร มีความสำคัญอย่างไร คนมีรถยนต์ต้องรู้
พรบของรถยนต์คือ ประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับ นับเป็นกฎหมายที่กำหนดให้เจ้าของรถยนต์ต้องซื้อหรือทำซื้อประกันภัย ทั้งนี้เพื่อชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นหากเกิดอุบัติเหตุทางรถยนต์ โดยหากว่าไม่ปฏิบัติตามกฎหมายนี้ทำให้เกิดความผิดกฎหมาย เสียค่าปรับ หรือโทษทางอาญาได้ตามกฎหมายท้องถิ่น ดังนั้นคนมีรถยนต์และขับขี่อยู่ไม่ว่าจะบ่อยหรือไม่ก็ตาม ต้องทำพ.ร.บ.รถยนต์ เมื่อครบกำหนดต่ออายุก็ห้ามขาดการต่อพ.ร.บ.

พรบรถยนต์ คุ้มครองอะไรบ้าง 
สำหรับความคุ้มครองเมื่อเทียบกับการทำประกันรถยนต์ภาคสมัครใจแล้ว พ.ร.บ.รถยนต์ให้ความคุ้มครองน้อยกว่า เพราะไม่คุ้มครองรถยนต์ของคุณหากเกิดอุบัติเหตุ อย่างไรก็ตามการทำพ.ร.บ.รถยนต์ ยังถือว่าสำคัญเพราะให้ความคุ้มต่อบุคคลอื่นหรือทรัพย์สินของบุคคลอื่นที่เกิดจากการใช้งานรถยนต์ของคุณ เรียกว่าช่วยให้คุณไม่ต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดอุบัติเหตุทางรถยนต์จนเกินรับไหว ในขณะที่คู่กรณีเองก็จะได้รับการช่วยเหลือ 

พรบรถยนต์ คุ้มครองอะไรบ้าง 
สำหรับผู้ประสบภัยเป็นผู้ขับขี่รถยนต์ที่ทำ พรบรถยนต์ จะได้รับความคุ้มครอง เช่น ในกรณีบาดเจ็บ สามารถเคลมค่ารักษาพยาบาล ทั้งสองส่วนแล้วไม่เกิน 80,000 บาทต่อคน ในกรณีทุพพลภาพถาวร จะได้รับเงินทดแทน 200,000 – 500,000 บาทต่อคนขึ้นซึ่งอยู่กับอวัยวะด้วย 

คำถามยอดฮิต ไม่ต่อพ.ร.บ.ได้ไหม 
นี่คือคำถามยอดฮิตของคนที่มีรถยนต์ ขับขี่เดินทางด้วยรถยนต์แต่ยังไม่เคยขาดต่อพ.ร.บ. เกิดอยากจะลองไม่ต่อดูบ้าง หรือมีความสงสัยว่าไม่ต่อได้ไหม คำตอบคือ คุณไม่สามารถที่จะละเลยหรือขาดต่อพ.ร.บ.ได้ เพราะสิ่งนี้เป็นประกันรถยนต์ภาคบังคับ คนมีรถยนต์ต้องทำและต่ออายุไม่ให้ขาด นอกจากได้รับความคุ้มครองแล้ว ยังไม่ต้องหลบเลี่ยงการตรวจสอบเอกสารจากทางด่านตรวจ ไม่ต้องเสียค่าปรับ ดังนั้นกันลืมเรื่องการต่อพ.ร.บ. ควรตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเติมจากบริษัทประกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ใกล้บ้าน เพื่อเตรียมเอกสารและเตรียมความพร้อมต่อพ.ร.บ.ไม่ให้ขาด และหากสงสัยว่า ต่อพรบใช้อะไรบ้าง สามารถเช็กข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์บริษัทประกันภัยรถยนต์อย่างที่ Directasia เช็กได้ที่ สะดวกสบาย เตรียมเอกสารพร้อมไม่ต้องกังวลว่าไปต่อ พ.ร.บ. แล้วจะเสียเที่ยว https://www.directasia.co.th/compulsory/

กรณี พรบ หาย ทำอย่างไรดี
หากทำพรบ หาย ควรเข้าแจ้งความลงบันทึกประจำวันเพื่อเป็นหลักฐานยืนยัน จากกนั้นจึงค่อยขอ พรบ ใหม่

ซื้อพ.ร.บ.กับ Directasia"
    การต่อพ.ร.บ.รถยนต์หรือต่อประกันรถยนต์ภาคบังคับ เป็นสิ่งจำเป็นเพื่อให้ได้รับความคุ้มครองค่ารักษาพยาบาลคู่กรณีและตนเอง แบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายได้ โดยวันนี้มีบริษัทประกันรถยนต์ที่ให้บริการต่อพ.ร.บ. อย่างที่ Directasia ให้บริการซื้อพ.ร.บ.รถยนต์ออนไลน์ สะดวกสบาย ถูกใจคนยุคนี้ที่ต้องการความรวดเร็ว โดยพร้อมให้ความคุ้มครองทันทีโดยไม่ต้องพิสูจน์ว่าใครถูกผิด ยกตัวอย่างความคุ้มครองที่จะได้รับ เช่น ความเสียหายต่อร่างกายและอนามัย วงเงินสูงสุด 80,000 บาท ค่าชดเชยรายวัน กรณีเข้ารักษาตัวในฐานะผู้ป่วยใน (สูงสุด 20 วัน) สูงสุด 200 บาท/วัน และสูงสุด 4,000 บาท/ครั้ง และความคุ้มครองด้านอื่น ๆ สนใจสามารถเช็กรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://www.directasia.co.th/compulsory/
ที่มาข้อมูล
https://www.directasia.co.th/compulsory/    
https://www.krungsri.com/th/plearn-plearn/get-to-know-compulsory-car-ins...
https://www.car4cash.com/contents/product/tax-and-compulsory-motor-insur...
https://www.directasia.co.th/compulsory/
 

แสดงความคิดเห็น

 
 

ข้อควรทราบ เนื่องจากผู้ดูแลหลักของเว็บไซต์เป็นคนตาบอด หากพบการแสดงผลที่ผิดเพี้ยนและสร้างความไม่สะดวกต่อการใช้งาน โปรดแจ้งทีมงานได้ในทุกช่องทาง

เราอยากให้สมาชิกทุกท่านอยู่กันอย่างครอบครัวที่อบอุ่น ให้สังคมภายในเว็บ เป็นสังคมที่ดี ดังนั้น สมาชิกทุกท่านโปรดเคารพในสิทธิของตนเองและผู้อื่น

ผลงานที่ถูกเผยแพร่บนเว็บ ให้ถือว่าลิขสิทธิ์เป็นของผู้เผยแพร่เอง ห้ามมิให้บุคคลอื่นนำไปเผยแพร่ ก็อปปี้ หรือนำไปดัดแปลง โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของผลงานโดยเด็ดขาด หากมีการฝ่าฝืน แล้วถูกดำเนินคดีจากเจ้าของผลงาน ทางเว็บมิขอเกี่ยวข้อง เพราะได้แจ้งเตือนเอาไว้อย่างชัดเจนแล้ว

หากพบบทความที่มีเนื้อหาไปในทางใส่ร้ายผู้อื่น หรือทำให้ผู้อื่นเสียหาย แจ้งเข้ามาได้ตามช่องทาง Email keangun2018@gmail.com ได้ตลอด 24 ชั่วโมง ทางทีมงาน จะทำการตรวจสอบ และหากเป็นจริง จะนำผลงานดังกล่าวออกจากเว็บไซต์ ไม่เกิน 1 วัน

Copyright © 2018-2024 keangun. All Right Reserved.